วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2553

วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553

วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553

แจ้ง การแก้ไข

โครงเรื่อง
1.แนวคิดและหลักการของ Green IT
1.1 หลักการสร้างสมดุลเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
1.2 โครงการ Energy Star
2.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green IT
2.1 การตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน
2.2 การสร้างการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์จำลอง 2 ระบบ(Virtualization)
3.การจัดการพลังงานตามแนวคิด Grenn IT
3.1 การกำหนดประสิทธิภาพของเพาเวอร์ซัพพลาย
3.2 การใช้จอแสดงผลแบบ LCD
3.3 การใช้ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)
3.4แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่วไป
3.4.1 การปรับการใช้สกรีนเซฟเวอร์
3.4.2 การเปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management
3.4.3 การปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน
3.4.4 การลดการใช้งานกระดาษ
3.4.5 การเลือกใช้อุปกรณ์

วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553

แก้ไข


โครงเรื่อง


1.แนวคิดและหลักการของ Green IT

1.1 หลักการสร้างสมดุลเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมTriple Bottom Line

1.2 โครงการ Energy Star

2.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green Computing

2.1 การตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน

2.2 การสร้างการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์จำลอง 2 ระบบ(Virtualization)

3.การจัดการพลังงานตามแนวคิด Grenn IT

3.1 การกำหนดประสิทธิภาพของเพาเวอร์ซัพพลาย

3.2 การใช้จอแสดงผลแบบ LCD
3.3 การใช้ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)

3.4แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่วไป

3.4.1 การปรับการใช้สกรีนเซฟเวอร์

3.4.2 การเปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management

3.4.3 การปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน

3.4.4 การลดการใช้งานกระดาษ

3.4.5 การเลือกใช้อุปกรณ์

วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553

แจ้ง : การแก้ไขโครงเรื่อง



โครงเรื่อง
1.ที่มาของแนวคิดและหลักการของ Green IT
1.1 หลักการสร้างสมดุลเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมTriple Bottom Line
1.2 โครงการ Energy Star
2.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green Computing
2.1 การตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน
2.2 การสร้างการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์จำลอง 2 ระบบ เวอร์ช่วลไลเซชั่น (Virtualization)
3.การจัดการพลังงานตามแนวคิด Grenn IT(Power management)
3.1 การกำหนดประสิทธิภาพของเพาเวอร์ซัพพลาย (supplies : PSUs)
3.2 การใช้จอแสดงผลแบบ LCD (display LCD)
3.3 การใช้ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)
3.4แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่วไป
3.4.1 การปรับการใช้สกรีนเซฟเวอร์
3.4.2 การเปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management
3.4.3 การปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน
3.4.4 การลดการใช้งานกระดาษ
3.4.5 การเลือกใช้อุปกรณ์

วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553

แจ้ง : บทความเสริมเพื่อความเข้าใจ


แจ้งเล็กน้อยค่ะ (เอาไว้เป็นความรู้เพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น♥)


Green Computing นั้นจะยึดหลัก 3 ประการด้วยกันที่เรียกว่า Triple Bottom Line นั่นคือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic viability), การรับผิดชอบต่อสังคม (Social responsibility) และกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact)


หลัก 3 ประการข้างต้นที่แนวทางของ Green Computing เริ่มต้นนำมาใช้งาน มีความหมายในทิศทางเดียวกัน กับการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจด้านอื่น ๆ เช่น ด้านวัตถุดิบที่มีอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมสูงอย่างตะกั่ว เป็นต้น รวมไปถึงการเพิ่มประสิทธิภาพจากการใช้พลังงานให้สูงมากขึ้น กับการนำวัตถุดิบกลับมาใช้งานใหม่ได้ (Recyclability) หรือ (Biodegradability) ของทั้งตัวผลิตภัณฑ์เองและสิ่งที่ปล่อยออกมาจากโรงงานจากกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์นั้น ๆ


กล่าวได้ว่าแนวคิดของการใช้ระบบประมวลผล ที่มีประสิทธิภาพด้านการใช้พลังงานสูง และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยนั้น ได้ยืมแนวทางมาจากโครงการ Energy Star ซึ่งเป็นโครงการที่หน่วยงานพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศสหรัฐอเมริกาหรือ U.S. Environmental Protection Agency ได้ริเริ่มจัดตั้งขึ้นในปี

ค.ศ.1992 โครงการ Energy Star เริ่มต้นด้วยการออกป้ายฉลากสำหรับแปะบนผลิตภัณฑ์ ที่มีกระบวนการผลิตและการทำงานที่ตรงตามข้อกำหนดทางด้านการใช้พลังงานไฟฟ้า และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของ Energy Star ผลิตภัณฑ์ในช่วงแรก ๆ ที่ Energy Star ควบคุมก็คือ จอมอนิเตอร์ (รุ่นเก่า) อุปกรณ์ควบคุมสภาพอากาศในห้องระบบไอทีและอุปกรณ์เทคโนโลยีด้านอื่น ๆ นับจากนั้นก็ได้มีการแผ่ขยายครอบคลุมโครงการ Energy Star ออกไปสู่ผลิตภัณฑ์ทางอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ อย่างกว้างขวาง นั่นจึงสามารถกล่าวได้ว่า แนวคิดทางด้าน “Green Computing” เกิดขึ้นหลังจากที่มีโครงการ Energy Star มาใช้งานได้ไม่นานนัก



ฝันดีค่ะทุกคน

แจ้ง : การจัดโครงเรื่องใหม่(อีกครั้ง)

โครงเรื่อง
1.ที่มาของแนวคิดและหลักการของ Green IT
1.1 หลัก Triple Bottom Line
1.2 โครงการ Energy Star
2.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green Computing
2.1 การตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน
2.2 การสร้างการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์จำลอง 2 ระบบ เวอร์ช่วลไลเซชั่น (Virtualization)
3.การจัดการพลังงาน (Power management)
3.1 เพาเวอร์ซัพพลาย supplies : PSUs
3.2 display LCD
3.3.แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่วไป
3.3.1 การปรับการใช้สกรีนเซฟเวอร์
3.3.2 การเปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management
3.3.3 การปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน
3.3.4 การลดการใช้งานกระดาษ
3.3.5 การเลือกใช้อุปกรณ์
4.ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)







วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2553

แจ้ง : การแก้ไขโครงเรื่อง



โครงเรื่อง

1.origins ที่มาของแนวคิด Green IT
2.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green Computing
2.1 ตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน
2.2 เวอร์ช่วลไลเซชั่น (Virtualization)
3.การจัดการพลังงาน (Power management)
3.1ฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ ๆ
3.1.1 เพาเวอร์ซัพพลาย supplies : PSUs
3.1.2 ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)
3.1.3 display LCD
3.2.แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่วไป
3.2.1 สกรีนเซฟเวอร์ไม่ลดการใช้พลังงาน
3.2.3 เปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management
3.2.4 ปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน
3.2.5ลดการใช้งานกระดาษ
3.2.6การเลือกใช้อุปกรณ์

โครงเรื่อง : Green IT




โครงเรื่อง


1.Green Computing or Green IT ระบบประมวลผลรักษ์สิ่งแวดล้อม

2.origins ที่มาของแนวคิด Green IT

3.แนวทางปฏิบัติ

4.การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่แนวทาง Green Computing

4.1 ตรวจสอบระดับการใช้พลังงาน

4.1.1 Energy Star

4.2 เวอร์ช่วลไลเซชั่น (Virtualization)

5.การจัดการพลังงาน (Power management)

5.1ฮาร์ดแวร์รุ่นใหม่ ๆ

5.1.1 เพาเวอร์ซัพพลาย supplies : PSUs

5.1.2 ไดรฟ์แบบโซลิดสเตท (Solid state)

5.1.3 display LCD

6.แนวทางปฏิบัติของผู้ใช้งานทั่ว ๆ ไป

6.1 zonbu คอมพิวเตอร์รักษ์สิ่งแวดล้อม

6.2 สกรีนเซฟเวอร์ไม่ลดการใช้พลังงาน

6.3 เปิดใช้งานคุณสมบัติ Power Management

6.4 ปิดคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่มีการใช้งาน

6.5 แนวทางอื่น ๆ

6.5.1 ลดการใช้งานกระดาษ

6.5.2การเลือกใช้อุปกรณ์